รายละเอียดของคณะ
คณะเกษตรศาสตร์มุ่งศึกษาทางด้านวิชาการเกษตรทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ รวมถึงการศึกษาและงานวิจัย เพื่อความเป็นเลิศทางการเกษตร โดยการสอน การวิจัย และการบริการทางวิชาการ และสร้างผลงานวิจัยให้สอดคล้องกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างยั่งยืน
สาขาที่เปิดสอน
สาขาวิชาการจัดการศัตรูพืช,สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์,สาขาวิชาเคมีการเกษตร,สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกษตร,สาขาวิชาเกษตรเขตร้อน,สาขาวิชาการประมง,สาขาวิชาสัตวศาสตร์,สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร,สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเกษตร,สาขาวิชาโรคพืชวิทยา,สาขาวิชาทรัพยากรที่ดินและสิ่งแวดล้อม,สาขาวิชาพืชสวน,สาขาวิชาพืชไร่,สาขาวิชากีฏวิทยา,สาขาวิชาเทคโนโลยี ชีวภาพ,สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา
สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า มีความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ค่อนข้างดี สนใจวิชาการทางด้านการเกษตร
แนวทางการประกอบอาชีพ แนวทางการเรียนต่อ
บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทางด้านนี้สามารถ ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐและเอกชนหลายแห่ง ปฏิบัติหน้าที่เป็นนักวิชาการเกษตร ในกรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ปฏิบัติงานในบริษัทเอกชน เช่น บริษัทผลิตเมล็ดพันธุ์พืช สารเคมีทางการเกษตร ปุ๋ยเคมี การเกษตรและการปศุสัตว์ต่างๆ นอกจากนี้ยังสามารถทำงานเป็นนักวิจัยให้กับสถาบันทางการเกษตรอีกหลายแห่ง โอกาสในการศึกษาต่อที่สูงขึ้นทั้งในและต่างประเทศ
สถาบันที่เปิดสอน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,มหาวิทยาลัยขอนแก่น,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง (สังกัดคณะเทคโนโลยีการเกษตร),มหาวิทยาลัยนเรศวร,มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์,มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
คณะเกษตรศาสตร์มุ่งศึกษาทางด้านวิชาการเกษตรทั้งทางด้านทฤษฎีและปฏิบัติ รวมถึงการศึกษาและงานวิจัย เพื่อความเป็นเลิศทางการเกษตร โดยการสอน การวิจัย และการบริการทางวิชาการ และสร้างผลงานวิจัยให้สอดคล้องกับการพัฒนาทางเศรษฐกิจ และสังคมของประเทศอย่างยั่งยืน
สาขาที่เปิดสอน
สาขาวิชาการจัดการศัตรูพืช,สาขาวิชาคหกรรมศาสตร์,สาขาวิชาเคมีการเกษตร,สาขาวิชาวิทยาศาสตร์เกษตร,สาขาวิชาเกษตรเขตร้อน,สาขาวิชาการประมง,สาขาวิชาสัตวศาสตร์,สาขาวิชาส่งเสริมการเกษตร,สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์การเกษตร,สาขาวิชาโรคพืชวิทยา,สาขาวิชาทรัพยากรที่ดินและสิ่งแวดล้อม,สาขาวิชาพืชสวน,สาขาวิชาพืชไร่,สาขาวิชากีฏวิทยา,สาขาวิชาเทคโนโลยี ชีวภาพ,สาขาวิชาอุตสาหกรรมเกษตร
คุณสมบัติผู้เข้าศึกษา
สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.6) หรือเทียบเท่า มีความรู้พื้นฐานทางวิทยาศาสตร์ค่อนข้างดี สนใจวิชาการทางด้านการเกษตร
แนวทางการประกอบอาชีพ แนวทางการเรียนต่อ
บัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาทางด้านนี้สามารถ ปฏิบัติงานในหน่วยงานของรัฐและเอกชนหลายแห่ง ปฏิบัติหน้าที่เป็นนักวิชาการเกษตร ในกรมวิชาการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร ปฏิบัติงานในบริษัทเอกชน เช่น บริษัทผลิตเมล็ดพันธุ์พืช สารเคมีทางการเกษตร ปุ๋ยเคมี การเกษตรและการปศุสัตว์ต่างๆ นอกจากนี้ยังสามารถทำงานเป็นนักวิจัยให้กับสถาบันทางการเกษตรอีกหลายแห่ง โอกาสในการศึกษาต่อที่สูงขึ้นทั้งในและต่างประเทศ
สถาบันที่เปิดสอน
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์,มหาวิทยาลัยขอนแก่น,มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้า คุณทหารลาดกระบัง (สังกัดคณะเทคโนโลยีการเกษตร),มหาวิทยาลัยนเรศวร,มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก,มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์,มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น